อุดมศึกษา-วิทย์ไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก “เอนก” ลั่นเลิกเอาปริญญามาแบ่งคน

อุดมศึกษา-วิทย์ไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก “เอนก” ลั่นเลิกเอาปริญญามาแบ่งคน

การศึกษา ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยว่า วันที่ 2 พ.ค.ที่ผ่านมา อว.ตั้งมาครบ 4 ปีและได้ทำหน้าที่กระทรวงแห่งปัญญา โอกาสและอนาคตมาตลอด 4 ปี มีการปฏิรูปทั้งด้านอุดมศึกษาและด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในด้านการอุดมศึกษาได้มีการปฏิรูปอุดมศึกษาที่ไทยถือเป็นหนึ่งในอาเซียนที่ปฏิรูปอุดมศึกษามากที่สุด เร็วที่สุดและเป็นประเทศหนึ่งในเอเชียที่อยู่ในระดับนำของการปฏิรูปอุดมศึกษา จนเป็นที่สนใจของประเทศตะวันตกมาก เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เป็นต้น ทั้งเรื่องหลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ เพื่อผลิตคนตามความต้องการของประเทศ เรื่องธนาคารหน่วยกิตแห่งชาติ เป็นต้น อว.ต้องปฏิรูปเพราะโลกสมัยนี้สำคัญที่การศึกษา การศึกษาเป็นตัวสร้างงาน เป็นตัวปรับอาชีพ ปรับทัศนคติ ต้องอาศัยการศึกษาทั้งสิ้น ที่สำคัญคนจะเห่อปริญญาน้อยลงและคนจะไม่เต็มใจที่จะอยู่มหาวิทยาลัยนานเกินไป ต้องการเข้ามหาวิทยาลัยแล้วเรียนไปด้วยทำงานไปด้วย แล้วได้เงินตั้งแต่วันแรกที่เข้าเรียน การศึกษาจะไม่ถูกผูกขาดโดยครู อาจารย์ นักวิจัย แบบที่เราเคยเห็นมา ที่ผ่านมาเราเอาปริญญา เอาชั้นยศมาแบ่งคนจนเกินไป ซึ่งอาจจะจำเป็นกับยุคหนึ่ง แต่ยุคปัจจุบันไม่ได้แล้ว รมว.อว.กล่าวต่อว่า ข่าวการศึกษา ขณะที่ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตนพูดได้ว่าดีที่สุดในอาเซียน จะเป็นรองก็แค่สิงคโปร์ แต่สิงคโปร์ก็ไม่ได้นำเราทุกเรื่อง เช่น เครื่องฉายแสงซินโครตรอนที่ใช้สำหรับตรวจอนุภาคเล็กๆ มีความชัดเจนยิ่งกว่าอิเล็กตรอนไมโครสโคป เป็นที่ต้องการของอุตสาหกรรมทั้งด้านสิ่งแวดล้อม ภาคอุตสาหกรรมเคมี ซึ่งสิงคโปร์ไม่มี แต่ไทยมี เรายังมีเครื่องโทคาแมค หรือ “ดวงอาทิตย์ประดิษฐ์” ซึ่งมีที่ไทยเพียงที่เดียวในอาเซียน จะเดินเครื่องในเดือน ก.ค.นี้ นอกจากนั้นเรายังมีกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เมตร ใหญ่และทันสมัยที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แล้วเรายังมีงานวิจัยระดับชั้นแนวหน้าของฟิสิกส์ระดับต่ำกว่าอนุภาคที่เรียกว่าควอนตัมฟิสิกส์ ทำวิจัยร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ระดับนำของโลกที่โครงการ CERN ซึ่งประเทศชั้นนำของโลกเท่านั้นที่ได้เข้าไปอยู่ในโครงการวิจัยนี้ เช่นเดียวกับโครงการวิจัยที่ขั้วโลกใต้ ซึ่งมีไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ได้เข้าไปทำโครงการวิจัย เป็นต้น

แนะนำข่าวการศึกษา อ่านเพิ่มเติมคลิกเลย : ‘สพฐ.’ เคาะปฏิทินสอบ ‘คุณครูผู้ช่วย’ ล็อตใหญ่ กว่า 2 หมื่นอัตราสมัคร 31 พ.ค.-6 มิ.ย.

อุดมศึกษา-วิทย์ไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก “เอนก” ลั่นเลิกเอาปริญญามาแบ่งคน

อุดมศึกษา-วิทย์ไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก “เอนก” ลั่นเลิกเอาปริญญามาแบ่งคน

การศึกษา ศาสตราจารย์ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ ศึกษาค้นคว้ารวมทั้งสิ่งใหม่ (อว.) กล่าวมาว่า วันที่ พฤษภาคมก่อนหน้าที่ผ่านมา อว.ตั้งมาครบ ปีแล้วก็ได้ปฏิบัติภารกิจกระทรวงที่สติปัญญา จังหวะรวมทั้งอนาคตมาตลอด ปี มีการแก้ไขอีกทั้งด้านอุดมศึกษารวมทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ ศึกษาค้นคว้าแล้วก็ของใหม่ ในด้านการอุดมศึกษาได้มีการปฏิวัติอุดมศึกษาที่ไทยนับว่าเป็นหนึ่งในอาเซียนที่ปรับปรุงอุดมศึกษาสูงที่สุด เร็วที่สุดรวมทั้งเป็นประเทศหนึ่งในทวีปเอเชียที่อยู่ในระดับนำของการปรับปรุงอุดมศึกษา กระทั่งเป็นที่พึงพอใจของโลกตะวันตกมากมาย ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฯลฯ ทั้งยังเรื่องหลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ เพื่อผลิตคนตามความจำเป็นของประเทศ เรื่องแบงค์หน่วยกิตแห่งชาติ ฯลฯ อว.จะต้องเปลี่ยนแปลงด้วยเหตุว่าโลกสมัยปัจจุบันสำคัญที่การศึกษาเล่าเรียน การเรียนเป็นตัวสร้างงาน เป็นตัวปรับอาชีพ ปรับทัศนคติ จำเป็นต้องอาศัยการเรียนรู้ทั้งปวง ที่สำคัญคนจะเห่อปริญญาลดลงแล้วก็คนจะไม่เต็มใจที่จะอยู่มหาวิทยาลัยนานเกินความจำเป็น ปรารถนาเข้ามหาวิทยาลัยแล้วเรียนไปด้วยดำเนินงานไปด้วย แล้วได้เงินตั้งแต่วันแรกที่เข้าชั้นเรียน การเรียนจะผิดผูกขาดโดยคุณครู คุณครู นักค้นคว้า ข่าวการศึกษา แบบที่พวกเราเคยได้เห็นมา ก่อนหน้านี้พวกเราเอาปริญญา เอาชั้นยศมาแบ่งคนยากจนเกินความจำเป็น ซึ่งบางครั้งอาจจะจำเป็นต้องกับสมัยหนึ่ง แม้กระนั้นช่วงปัจจุบันมิได้แล้ว รัฐมนตรีว่าการอว.กล่าวต่อว่าต่อขาน ตอนที่ทางด้านวิทยาศาสตร์ ศึกษาค้นคว้าแล้วก็ของใหม่ ตนเรียกได้ว่ายอดเยี่ยมในอาเซียน จะด้อยกว่าก็แค่ประเทศสิงคโปร์ แม้กระนั้นประเทศสิงคโปร์ก็มิได้นำพวกเราทุกเรื่อง ดังเช่นว่า เครื่องฉายภาพแสงสว่างสิวัวตรอนที่ใช้สำหรับตรวจอนุภาคเล็กมีความแจ่มชัดมากกว่าอิเล็คตรอนไมโครวัวป เป็นที่เรียกร้องของอุตสาหกรรมอีกทั้งด้านสภาพแวดล้อม ภาคอุตสาหกรรมเคมี ซึ่งประเทศสิงคโปร์ไม่มี แม้กระนั้นไทยมี พวกเรายังมีเครื่องโทติดอยู่แมค หรือ พระอาทิตย์ประดิษฐ์” ซึ่งมีที่ไทยเพียงแต่ที่เดียวในอาเซียน จะขับเคลื่อนในเดือน เดือนกรกฎาคมนี้ นอกจากพวกเรายังมีกล้องส่องทางไกลวิทยุแห่งชาติขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร ใหญ่และก็ล้ำยุคที่สุดในเอเซียอาคเนย์ แล้วพวกเรายังมีงานศึกษาค้นคว้าวิจัยระดับชั้นแนวหน้าของฟิสิกส์ระดับที่ค่อนข้างต่ำกว่าอนุภาคที่เรียกว่าควอนตัมฟิสิกส์ ทำศึกษาค้นคว้าร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ระดับนำของโลกที่โครงงาน CERN ซึ่งประเทศชั้นแนวหน้าของโลกเพียงแค่นั้นที่ได้เข้าไปอยู่ในแผนการวิจัยนี้ เหมือนกับโครงงานทำการศึกษาค้นคว้าและทำการวิจัยที่ขั้วโลกใต้ ซึ่งมีไม่กี่ประเทศเพียงแค่นั้นที่ได้เข้าไปทำโครงงานทำการศึกษาค้นคว้าและทำการวิจัย ฯลฯ

แนะนำข่าวการศึกษา อ่านเพิ่มเติมคลิกเลย : DPU โกอินเตอร์ ดึงนิสิตนานาประเทศเข้าชั้นเรียน วางเป้า Education and Travel

จบดราม่าหนังสือ “ภาษาพาที” หันมาปรับเปลี่ยนแบบเรียนภาษาไทย ให้ทันยุค

จบดราม่าหนังสือ “ภาษาพาที” หันมาปรับเปลี่ยนแบบเรียนภาษาไทย ให้ทันยุค

การศึกษา เรื่องราวในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต “ภาษาพาที” ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 กำลังเป็นประเด็นร้อนถูกคนในสังคมวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักว่า มีเนื้อหาล้าหลัง ไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน อาจไม่เหมาะเป็นหนังสือเรียนภาษาไทย และยังถูกตั้งคำถามมากมาย โดยเฉพาะเนื้อหาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประเด็นดราม่ากินไข่ต้มครึ่งซีก เหยาะน้ำปลา หรือใส่น้ำผัดผักบุ้ง เป็นความสุขและความพอเพียง ทั้งที่ความจริงแล้วเด็กๆ ควรรับสารอาหารที่เพียงพอในแต่ละวัน ข่าวการศึกษา ดราม่าเนื้อหาในแบบเรียนหนังสือ “ภาษาพาที” ไม่จบสิ้น จากเรื่องกินไข่ต้ม จนมาถึงเรื่องเด็กสั่งข้าวมันไก่แล้วน้ำจิ้มเผ็ด จึงไปขอน้ำปลาจากอีกร้านหนึ่ง แม้จะถูกต่อว่าแต่ก็อนุญาตให้ตักน้ำปลา เป็นข้อคิดถึงการมีน้ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แต่กลับกลายเป็นดราม่าที่ผู้คนต่างมองว่าน้ำปลาไม่เหมาะกับข้าวมันไก่ และอีกหลายๆ เรื่องราว ทำให้ล่าสุด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สั่งให้มีการตรวจสอบเนื้อหา และเตรียมหารือกับผู้เขียนเพื่อแก้ไขเนื้อหาบางส่วนแล้ว

แนะนำข่าวการศึกษา อ่านเพิ่มเติมคลิกเลย : บพข. จัดใหญ่ ประดิษฐ์เศรษฐกิจไทย เชื่อมโลกด้วยงานศึกษาเรียนรู้วิจัยรวมทั้งสิ่งใหม่

 

“ตรีนุช” เกาะติดเปิดเทอม-แก้หนี้ครู ย้ำแม่พิมพ์ต้องมีเงินเดือนเหลือใช้ 30%

“ตรีนุช” เกาะติดเปิดเทอม-แก้หนี้ครู ย้ำแม่พิมพ์ต้องมีเงินเดือนเหลือใช้ 30%

การศึกษา เมื่อวันที่ 19 เม.ย. น.ส.ตรีนุช เทียนทอง รมว.ศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมผู้บริหารองค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ว่า ตนได้ติดตามงานนโยบายการศึกษาเรื่องต่างๆ ว่ามีการดำเนินการคืบหน้าไปถึงไหนบ้างแล้ว หรือนโยบายใดมีข้อติดขัดอุปสรรคใดบ้าง ซึ่งเท่าที่ผู้บริหารแต่ละองค์กรหลักได้รายงานพบว่าการขับเคลื่อนการศึกษาถือว่าทุกหน่วยงานทำได้ดี ดังนั้น คิดว่าตนคงไม่ต้องกังวลกับเรื่องใดเป็นพิเศษแม้จะมีรัฐบาลชุดใหม่เข้ามา โดยอยากให้สานต่อนโยบายลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เพราะถือว่าเป็นนโยบายที่สร้างความเท่าเทียมให้เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนทุกคน นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้ติดตามการจัดทำประชาพิจารณ์ร่างระเบียบว่าด้วยนโยบายการจัดสวัสดิการภายในเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของบุคลากรในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งร่างระเบียบดังกล่าวเป็นร่างระเบียบที่เชื่อมโยงกับนโยบายการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ต้องการให้ครูมีเงินเดือนเหลือสุทธิหลังหักชำระหนี้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 โดยการจัดทำร่างระเบียบฉบับดังกล่าวต้องการให้มีแนวปฏิบัติออกมาชัดเจน ข่าวการศึกษา  เพราะหากเป็นการสั่งการโดยที่ไม่มีระเบียบรองรับอาจทำให้หน่วยงานที่เป็นผู้ปฏิบัติไม่กล้าที่จะดำเนินการอะไร ทั้งนี้คาดว่าร่างระเบียบว่าด้วยนโยบายการจัดสวัสดิการภายในเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของบุคลากรในสังกัดศธ.จะดำเนินการเสร็จสิ้นในเร็วๆนี้ และจากนั้นจะนำไปสู่การปฏิบัติโดยสถานีแก้หนี้ครูต่อไป

แนะนำข่าวการศึกษา อ่านเพิ่มเติมคลิกเลย : ย้อนดราม่า ภาษาพาที จาก ‘เกี๊ยวใจแตก’ ถึงเวลาปรับตำราเรียนใหม่หรือยัง?

ลุ้น ‘ก.ค.ศ.’ ไฟเขียว 245 ‘อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯ’ คาดประกาศชื่อทัน 6 ก.พ.เริ่มงานทันที

ลุ้น ‘ก.ค.ศ.’ ไฟเขียว 245 อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯ คาดประกาศชื่อทัน 6 ก.พ.เริ่มงานทันที สพฐ.เล็งเดินเครื่องสรรหา ผอ.-รอง ผอ.ร.ร.

ข่าวการศึกษา  นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยว่า ความคืบหน้าการสรรหาคณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.ศ.) เขตพื้นที่การศึกษา 245 เขตทั่วประเทศ ภายหลัง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ มีผลบังคับใช้ ส่งผลให้ต้องถ่ายโอนอำนาจการบริหารงานบุคคล จากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ไปเป็นอำนาจของคณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่ (อ.ก.ค.ศ.) นั้น ทราบว่าแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ส่งรายชื่อผู้แทนแต่ละส่วนให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) เพื่อเสนอให้ อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเฉพาะกิจคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอ ก.ค.ศ.แต่งตั้งเป็นอนุกรรมการใน อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่พิจารณาคัดเลือกผู้เหมาะสม ก่อนเสนอให้คณะกรรมการ ก.ค.ศ.ที่มี น.ส.ตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เป็นประธาน พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนประกาศรายชื่อต่อไปนายอัมพรกล่าวต่อว่า สำหรับองค์ประกอบ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ที่เสนอประกอบด้วย อนุกรรมการผู้แทน 3 คน ได้แก่ ผู้แทนคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) นายอำเภอหรือผู้แทน และผู้แทน ก.ค.ศ. ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ไฟเขียว 6

ก.ค.ศ.ให้อำนาจเสนอรายชื่อผู้เหมาะสมเป็นประธาน อ.ก.ค.ศ. ซึ่ง สพฐ.เสนอรายชื่อไปเขตละ 2 ราย เพื่อให้ ก.ค.ศ.คัดเลือกเหลือ 1 ราย

ข่าวการศึกษา รวมถึงเสนอรายชื่อกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านกฎหมาย และด้านการศึกษา หรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานบุคคล เสนอไปด้านละ 2 รายต่อเขตพื้นที่ เพื่อให้คัดเลือกเหลือด้านละ 1 ราย และอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3 ราย ได้แก่ ข้าราชการครู ผู้บริหาร สถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น และอนุกรรมการและเลขานุการ จำนวน 1 ราย เสนอไปตำแหน่งละ 2 ราย เพื่อให้ ก.ค.ศ.คัดเลือกเหลือ ตำแหน่งละ 1 รายเช่นเดียวกัน “ผู้ที่ได้รับคัดเลือกถือว่าเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ เข้าใจบริบทของพื้นที่ คาดว่าในการประชุมคณะกรรมการ ก.ค.ศ.ที่มีรัฐมนตรีว่าการ ศธ.เป็นประธาน วันที่ 30 มกราคมนี้ อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเฉพาะกิจจะเสนอรายชื่อองค์ประกอบ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ที่ผ่านการพิจารณาให้ที่ประชุมเห็นชอบ หากไม่มีปัญหา ก.ค.ศ.ก็จะประกาศรายชื่อแต่งตั้งได้ทันตามกำหนด คือภายในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ เท่ากับว่าการบริหารงานบุคคลใดที่เคยเป็นอำนาจของ กศจ.ก็จะกลายมาเป็นอำนาจของ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ทันที ซึ่งมีเรื่องเร่งด่วนที่ต้องเร่งดำเนินการหลายเรื่อง ทั้งการสรรหาผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน รวมถึงการบรรจุแต่งตั้ง โยกย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ ส่วนจะเร่งดำเนินการให้แล้วเสร็จเมื่อไรนั้นยังไม่สามารถบอกได้ โดยหลังจากได้องค์ประกอบ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ครบ 245 เขตแล้ว สพฐ.จะจัดประชุม เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของผู้แทน อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ทั้งหมด เพื่อให้การทำงานเกิดประสิทธิภาพ” นายอัมพรกล่าว

แนะนำข่าวการศึกษา อ่านเพิ่มเติมคลิ๊กเลย : ‘กรมศิลป์’ จัดสัมมนาโครงการวิจัย วิจักขณ์ การนำเสนอผลงานของนักวิชาการ

รายงานการศึกษา : ‘เอสจีซี’ เดินหน้าปันน้ำใจ ช่วย ‘ร.ร.ชนบท’ แก้ขาดแคลนน้ำ

รายงานการศึกษา : ‘เอสจีซี’ เดินหน้าปันน้ำใจ ช่วย ‘ร.ร.ชนบท’ แก้ขาดแคลนน้ำ

ข่าวการศึกษา  เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท เอสจี แคปปิตอล จำกัด (มหาชน) หรือ SGC เดินหน้าโครงการรับผิดชอบสังคม ผ่านโครงการ “ปันน้ำใจ ห่วงใยโรงเรียน” บริจาคเครื่องกรองน้ำให้ 20 โรงเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำสะอาดเพื่อบริโภคในโรงเรียนพื้นที่ชนบท พร้อมนำร่องโครงการ “คนละต้น” เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดภาวะโลกร้อน และการปล่อยก๊าซเรือนกระจก บนพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จ.เพชรบุรี นอกจากนี้ ยังเปิดรับ “ผู้พิการ” เป็นพนักงาน Call Center เพื่อมอบโอกาสสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีกับผู้พิการน.ส.บุษบา กุลศิริธรรม กรรมการผู้จัดการ SGC กล่าวว่า การดำเนินธุรกิจสินเชื่อ ซึ่งใช้ “ใจ” ให้บริการลูกค้า ทั้งการให้คำปรึกษา เป็นเพื่อนคู่คิดให้กับธุรกิจ และผู้ประกอบการทุกขนาด เพื่อขับเคลื่อนธุรกิจสู่ความสำเร็จอย่างมั่นคง

เตรียมตัวสมัครสอบ 11

บริษัทยังเดินหน้าควบคู่กับการยกระดับคุณภาพชีวิตสังคมให้ดีขึ้น ผ่านโครงการรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR บนกรอบของแนวคิด ESG ใน 3 ด้าน

ข่าวการศึกษา   ได้แก่ สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล การดำเนินธุรกิจโปร่งใส พร้อมเคียงข้างคนไทย“ในปี 2565 SGC ดำเนินกิจกรรม ปันน้ำใจ ห่วงใยโรงเรียน อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดได้ลงพื้นที่บริจาคเครื่องกรองน้ำให้โรงเรียนวัดพระพุทธฉาย จ.สระบุรี นับว่าบรรลุเป้าหมายความสำเร็จครบ 20 โรงเรียน ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ในปี 2565 ในการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำสะอาดในโรงเรียนพื้นที่ชนบท โดยนำแนวคิด ESG มาใช้เป็นแกนในการกำหนดรูปแบบของกิจกรรมเพื่อความยั่งยืน บนยุทธศาสตร์ 3 มิติของ ESG” น.ส.บุษบา กล่าวทั้งนี้ SGC ตั้งเป้าเตรียมเดินหน้าโครงการดังกล่าวต่อเนื่องในปี 2566 พร้อมเดินหน้านำร่องโครงการคนละต้น เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดภาวะโลกร้อน โดยขนทัพพนักงานจิตอาสาปลูกต้นไม้บนพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร มุ่งเน้นแนวคิดอนุรักษ์และฟื้นฟูป่า เพิ่มสมดุลระบบนิเวศ ช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ กักฝุ่นและมลพิษ พร้อมช่วยลดอุณหภูมิรอบพื้นที่ปลูก ให้ร่มเงา สร้างสิ่งแวดล้อมความน่าอยู่ให้กับสังคม เป็นอีกหนึ่งกำลังสำคัญในการเพิ่มปอดฟอกอากาศบริสุทธิ์ให้กับโลกนอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ที่ครอบคลุมถึงกลุ่มผู้พิการ สนับสนุนผู้ทุพพลภาพ หรือผู้พิการ ให้ทำงานในส่วนการบริการให้ข้อมูลลูกค้าทางโทรศัพท์ หรือ Call Center เพื่อเปิดโอกาส สร้างรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิต และต่อยอดสู่การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน พร้อมส่งเสริมการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน สู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสอดรับตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงเดินหน้าร่วมแบ่งปันโอกาส รวมทั้ง สร้างสรรค์สังคมอย่างยั่งยืน ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต

แนะนำข่าวการศึกษา  อ่านเพิ่มเติมคลิ๊กเลย : ‘ตรีนุช’ กังวล ร่างพ.ร.บ.การศึกษาฯ อาจคลอดไม่ทันรัฐบาลชุดนี้

ส่องเทรนด์เรียนต่อเมืองน้ำหอมบูม ดับเบิ้ลดีกรีบริหารในไทยกับสถาบันชั้นนำของฝรั่งเศสด้านบริหาร

โรงเรียนการจัดการชั้นนำของฝรั่งเศส พัฒนาหลักสูตรนานาชาติ ดับเบิ้ลดีกรี สาขา General Management ตอบโจทย์นักบริหารยุคใหม่

การศึกษา เว็บไซต์ด้านการศึกษาของฝรั่งเศสอย่าง Campus France เผยอัตราการลงทะเบียนเรียนในฝรั่งเศสพุ่งกว่า 400,000 คนในปีที่ผ่านมา เหตุเป็นเมืองรวมสถาบันการศึกษาชั้นนำที่ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ CMMU จับมือ Toulouse School of Management (TSM) ให้เรียน 2 ประเทศ ได้ปริญญา 2 ใบ ในราคาเทียบเท่าเรียนไทย แต่อัดแน่นทั้งความรู้วิชาการที่ทันสมัย พร้อมทั้งประสบการณ์การเรียนการจัดการข้ามวัฒนธรรมจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญและเพื่อนร่วมชั้นเรียนนานาชาติ สร้างคอนเน็กชัน และโอกาสการทำงานข้ามชาติเมื่อเรียนจบ เว็บไซต์ด้านการศึกษาของฝรั่งเศสอย่าง Campus France เปิดเผยว่า ประเทศฝรั่งเศสถือเป็นอีกหนึ่งปลายทางยอดฮิตในการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาทั่วโลก เห็นได้ชัดจากจำนวนนักศึกษาต่างชาติเพิ่มขึ้นถึง 8% หรือกว่า 4 แสนคนในปีที่ผ่านมา และมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก ฝรั่งเศส เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ มีมหาวิทยาลัยชั้นนำเฉพาะทางอยู่มากมาย โดยเฉพาะโรงเรียนด้านการจัดการ อีกทั้ง ปริญญาบัตรจากสถาบันการศึกษาของฝรั่งเศสยังเป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศ มีค่าครองชีพไม่แพงเกินไป เหมาะแก่การหาประสบการณ์ใหม่ๆ และสัมผัสวัฒนธรรมหลากหลายจากนักศึกษาต่างชาติที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ

ส่องเทรนด์เรียนต่อเมืองน้ำหอมบูม! CMMU

เล็งเห็นถึงความเป็นนานาชาติของฝรั่งเศส จึงได้จับมือกับ Toulouse School of Management (TSM) พัฒนาหลักสูตรนานาชาติ ดับเบิ้ลดีกรี

การศึกษา รศ. ดร.แอสทริด ไคซบาวเออร์  ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า CMMU  สาขา General Management เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผัสประสบการณ์การเรียนรู้ระดับแนวหน้าของโลก เพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยผู้เรียนจะได้รับปริญญาจากทั้ง 2 สถาบัน (Double Degree) ในราคาหน่วยกิตเท่ากับการเรียนที่ไทย เพียง 429,000 บาททั้งหลักสูตร โดยไม่ต้องเสียค่าหน่วยกิตการไปเรียนที่ฝรั่งเศสเพิ่ม เปิดโอกาสในนักจัดการยุคใหม่ได้เข้าถึงองค์ความรู้แบบนานาชาติ Toulouse School of Management (TSM) ตั้งอยู่ในเมืองตูลูส ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย Toulouse 1 Capitole มหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของฝรั่งเศส โดย TSM เป็นหนึ่งในโรงเรียนการจัดการชั้นนำของฝรั่งเศส ให้การศึกษาด้านวิชาการและวิชาชีพคุณภาพสูงครอบคลุมทุกวิชาด้านการจัดการ ตั้งแต่การบริหารบัญชี การเงิน การวางแผนกลยุทธ์ การบริหารการตลาด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ และอื่นๆ สอนโดยคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญระดับสูงที่มีประสบการณ์ระดับนานาชาติ และมีเครือข่ายพันธมิตรทางการศึกษาระหว่างประเทศทั่วโลก มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถหางานทำได้อย่างรวดเร็วเมื่อสำเร็จการศึกษา นอกจากนี้ TSM ยังมีศูนย์การวิจัยด้านการจัดการที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในฝรั่งเศส ซึ่งเป็น 1 ใน 4 ศูนย์วิจัยด้านการจัดการที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานวิจัยของฝรั่งเศส The National Centre for Scientific Research (CNRS) ทำหน้าที่พัฒนาหลักสูตร ออกแบบการเรียนการสอนที่ทันสมัย หลักสูตร “ดับเบิ้ลดีกรีไทย-ฝรั่งเศส” สาขา General Management ใช้เวลาเรียนเพียง 5 ภาคการศึกษา หรือเพียง 1 ปี 7 เดือนเท่านั้น โดยจะเรียนที่ CMMU 3 ภาคการศึกษา และเรียนที่ TSM 2 ภาคการศึกษา ที่ CMMU จะได้เรียนรู้เศรษฐกิจเอเชียในบริบทโลก การบริหารจัดการธุรกิจในมุมมองต่างๆ รวมถึง การใช้เทคโนโลยีในธุรกิจ เมื่อลัดฟ้าไปถึงเมืองตูลูสแล้ว จะได้เรียนรู้การจัดการธุรกิจที่มีความเป็นนานาชาติมากขึ้น การจัดการแบบข้ามวัฒนธรรม รวมถึงศึกษามุมมองการทำธุรกิจแบบนานาชาติอีกด้วย

แนะนำข่าวธุระกิจ อ่านเพิ่มเติมคลิ๊กเลย :  เจนอัลฟ่าคิดอย่างไร มิติใหม่ฟรีสไตล์ทีแคส

 

 

เร่งฟื้นฟู “เด็ก” เติบโตช่วงโควิด-19 ก่อนจะสาย

“เด็กที่เติบโตในช่วงโควิด-19 จะเป็นเหมือนหลุม เทียบกับรุ่นพี่-รุ่นน้องไม่ได้ หากไม่เร่งแก้ปัญหา ภาพรวมการพัฒนาประเทศจะถดถอยตาม

การศึกษา หากไม่ทำอะไรการเรียนรู้ถดถอยไปเรื่อย ๆ การแก้ปัญหาจึงต้องทำแบบวิ่งมาราธอน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต” รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง กล่าวเจ้าวายร้ายไวรัสโควิด-19 ได้ทิ้งบาดแผลให้ “เด็ก” ที่เติบโตมาในช่วงการแพร่ระบาดอย่างหนักมากว่า 2 ปี จากการสำรวจของสารพัดสำนักที่ทำการศึกษาวิจัยการศึกษาของเด็กในกลุ่มนี้ ส่วนมากอยู่ในวัยเด็กเล็ก หรือ เด็กอนุบาล เด็กปฐมวัย รวมทั้ง เด็กชั้นประถมต้นพบว่า “เด็ก” กลุ่มนี้พัฒนาล่าช้าทั้งด้านภาษาและกล้ามเนื้อมือไม่แข็งแรง เด็กมากกว่าร้อยละ50 จับดินสอผิดวิธี อีกทั้งพบว่ามีแรงบีบมือต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของเด็กในวัยเดียวกัน เด็กบางคนขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง จนถึงขั้นไม่กล้าไปเรียนหนังสือที่โรงเรียน

เร่งฟื้นฟู เด็ก เติบโตช่วงโควิด-19 ก่อนจะสาย

“เด็กที่อยู่ในช่วงอายุ 0-5ปี ต้องมีพัฒนาการที่สมวัยอยู่ในระดับร้อยละ 85 แต่ผลสำรวจพบว่าเด็กไทย1 ใน 4 หรือร้อยละ 25 มีพัฒนาการไม่สมวัย

มีนิ้วที่แข็งแรงเหลืออยู่เพียงนิ้วเดียว คือนิ้วชี้ที่เด็กใช้ในการเลื่อนหน้าจอสมาร์ทโฟน”นพ.ธีรชัย บุญยะลีพรรณ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบุผศ.พรพิมล คีรีรัตน์ โค้ชโครงงานฐานวิจัย (ป.4-ม.3) โครงการสนับสนุนโรงเรียนพัฒนาตนเอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่(มอ.วิทยาเขตหาดใหญ่) ระบุว่า แรงบีบมือของเด็กที่อยู่เกณฑ์ปกติ จะอยู่ที่ 19 กิโลกรัม แต่หลังลงสังเกตพฤติกรรมในห้องเรียน 6 จังหวัดภาคใต้ โดยใช้เครื่องวัดแรงบีบมือทดสอบวัดสมรรถภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1,918 คน จาก 74 โรงเรียน ใน 6 จังหวัด คือ สตูล ปัตตานี สงขลา นครศรีธรรมราช ยะลา และนราธิวาส พบ 98% ของเด็กๆ แรงบีบมือต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของเด็กวัยเดียวกัน ซึ่งค่าปกติจะอยู่ที่ 19 กิโลกรัม หากไม่เร่งพัฒนาอาจจะสูญเสียโอกาสการพัฒนาได้อย่างเต็มที่ หากปล่อยไป จะยิ่งเกิดปัญหาซับซ้อนในช่วงวัยนี้มากขึ้น โดยมีความหวังให้โรงเรียนนำร่อง ขยายผลไปสู่เพื่อนครูด้วยกัน เพื่อชวยกันแก้ปัญหาเด็กพัฒนาถดถอยอย่างต่อเนื่องจากการทดสอบมีเด็กผ่านเกณฑ์เพียงร้อยละ 1.19 จึงได้ริเริ่มโครงการ PSU ครูรักศิษย์ ครั้งที่ 7 ‘การพัฒนาฐานกาย’ หนึ่งในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการคือ โรงเรียนวัดมุจลินทวาปีวิหาร (เพชรานุกูลกิจ) อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ดูแลโครงการโดย ครูนก จรรยารักษ์ สมัตถะ หลังการฟื้นฟูต่อเนื่อง พบค่าแรงบีบมือเด็กมากขึ้น 0.5-2 กิโลกรัมในเวลาเพียงเดือนเดียวเท่านั้น

แนะนำข่าวธุระกิจ อ่านเพิ่มเติมคลิ๊กเลย :  ศธจ.สมุทรสาคร นำนวัตกรรมปรับการเรียนการสอน แก้ปัญหาภาวะความรู้ถดถอย

เจนอัลฟ่าคิดอย่างไร มิติใหม่ฟรีสไตล์ทีแคส

เจนอัลฟ่าคิดอย่างไร มิติใหม่ฟรีสไตล์ทีแคส เรียกได้ว่าเป็นมิติใหม่ หรือเปิดใจกว้างของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.)

การศึกษา มีมติให้นักเรียนที่เข้าสอบเพื่อศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2566 หรือทีแคส สามารถเลือกสอบด้วยกระดาษ หรือด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ และยังไปไกลกว่านั้น อนุญาตให้ทาเล็บ ทำสีผม สวมแว่นตา ใส่คอนแท็กต์เลนส์ ชุดเข้าสอบเปิดฟรีสไตล์แต่งตัวแบบไหนก็เข้าสอบได้เพียงแต่ให้สุภาพกลุ่มเพศทางเลือก แต่งเนื้อแต่งตัวไม่ต้องตรงกับเพศกำเนิดก็ได้เป็นการให้อิสระ ความเป็นตัวของตัวเอง เกิดความสบายใจในการทำสอบสอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนไปของโลกสู่ยุคดิจิทัลเต็มตัวมากขึ้นเรื่อยๆ และสอดคล้องกับการเปลี่ยนผ่านของเยาวชนคนรุ่นใหม่ เจนอัลฟ่ารุ่นที่ถูกนิยามตัวตนว่าจะฉลาดที่สุดในเผ่าพันธุ์มนุษย์ ด้วยความพร้อมทางเทคโนโลยีหลากหลาย มีทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัลสูง ทำให้สามารถเรียนรู้ได้เร็ว ผสมผสานองค์ความรู้ต่างๆ ได้ดี และการเติบโตมากับโลกไร้พรมแดน จึงเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรมของคนทั่วโลกได้ง่าย รักอิสระในการใช้ชีวิต

เจนอัลฟ่าคิดอย่างไร มิติใหม่ฟรีสไตล์ทีแคส

การเปิดกว้างข้างต้นมีเสียงจากผู้กำกับระบบการศึกษาอย่างกระทรวงศึกษาธิการ

การศึกษา รวมไปถึงบรรดาผู้ปกครอง แสดงความวิตก เสรีภาพเช่นนั้นอาจกระทบกระเทือนระเบียบวินัย ความรับผิดชอบของผู้อยู่ในวัยเรียน
มติชน ทำการสำรวจเยาวชนเจน อัลฟ่า คิดเห็นอย่างไรกับความฟรีสไตล์นี้พรชิตา หล่อทอง หรือ น้องออม นักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จ.พิษณุโลก กล่าวว่า ส่วนตัวเห็นด้วยที่จะเปิดกว้างให้เด็กใส่ชุดอะไรก็ได้มา สอบ เพราะถือเป็นสิทธิส่วนบุคคล เพราะการสอบเราเอาความรู้เข้าไปสอบ ดังนั้น ควรจะเปิดกว้างให้ใส่ชุดสุภาพมาเข้าสอบได้ ส่วนที่บางคนกังวลว่าหากเปิดกว้างอาจกระทบเรื่องระเบียบวินัย มองว่าปัจจุบันยุคสมัยเปลี่ยนไปแล้ว ไม่ควรโฟกัสเรื่องนี้กัญญาภัทร ศิริ นักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จ.พิษณุโลก กล่าวว่า ไม่เห็นด้วย แม้ว่าการสอบไม่ได้วัดกันที่ใครจะใส่ชุดอะไรก็จริง แต่เราควรมีระเบียบกำหนดเป็นภาพรวม หากเปิดกว้างให้ใส่ชุดอื่นเข้าสอบ เวลามองภาพรวมแล้ว อาจไม่เป็นระเบียบ แต่หากใส่ชุดนักเรียนเหมือนกันหมด ทำให้เวลามองภาพรวมแล้วรู้สึกว่ามีความเป็นระเบียบมากกว่า เพราะสถานที่ที่เราไปสอบคือโรงเรียน เป็นศูนย์ราชการ สถานที่ราชการ ควรมีกรอบให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยด้วยน้องโจ นักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนแห่งหนึ่งใน จ.ลำปาง กล่าวว่า เห็นด้วย เพราะเป็นการเปิดให้นักเรียนมีอิสระในการเลือก หรือตัดสินใจในร่างกายของตนเอง ทำให้นักเรียนรู้สึกมั่นใจในตนเองมากขึ้น ลดความประหม่า และเป็นการแสดงให้เห็นว่าสังคมเปิดกว้างในเรื่องความหลากหลาย สิทธิเสรีภาพ และความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ส่วนการสมัครสอบปีนี้มีเป้าหมายอยากเข้าเรียนคณะแพทยศาสตร์ และเลือกไว้แล้วว่าจะลงสมัครสอบในวิชา TPAT1 หรือวิชาความถนัดเฉพาะแพทย์ที่ผู้ใหญ่บางคนไม่เห็นด้วยเพราะห่วงเรื่องกฎระเบียบและวินัยนั้น มองว่าอาจเป็นสิ่งใหม่สำหรับผู้ใหญ่บางคนในเรื่องการเปิดกว้าง อาจไม่ได้ปรับตัว แต่อยากให้ลองเปิดใจในสิ่งใหม่ๆ เพราะการเปิดกว้างสำหรับนักเรียน เป็นการให้เกียรตินักเรียนแต่ละคน ในเมื่อนักเรียนเขาได้รับการให้เกียรติ เขาก็จะรักษาวินัย เพื่อแสดงให้เห็นว่าการเปิดกว้างไม่ได้เกี่ยวข้องกับระเบียบวินัย เป็นคนละส่วนกัน มองว่าเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนควรจะได้รับ เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความคิดที่แตกต่างกัน ควรจะให้เกียรติซึ่งกันและกัน ไม่ว่าจะอายุน้อยหรือมาก ทุกคนไม่ควรได้รับการตัดสินใจโดยมองแค่ในด้านเดียว

แนะนำข่าวธุระกิจ อ่านเพิ่มเติมคลิ๊กเลย : ครูมืด ประสาท ทองอร่าม ครูโขน ปรมาจารย์วัฒนธรรมไทย เสียชีวิตแล้ว